ขั้นตอน |
กระบวนการ |
1. |
คลิกที่เมนู การจัดการค่าจ้าง > ตัวเลือก > กำนดค่า > ตารางจัดกลุ่มเงินเดือน ระบบจะแสดงหน้าจอดังรูป |
|
|
2. |
- ระบุรหัสสายงาน - ระบุรายละเอียดของรายงาน - เลือกสูตรรายได้ หรือรายการหักที่ต้องการ - ระบุคำออธิบายสูตร - เอกสถานะผลรวม เป็นการระบุว่ารายได้หรือรายการหักที่ได้ทำการเลือกนั้น ให้ระบบรวมยอดให้รหือไม่ ดยในช่องสูตรผู้ใช้สามารถระบุหลายสูตรมาผูกกันได้ เช่น ในช่องรวมรายได้ เป็นต้น กรณีเลือกสถานะว่าเป็น “ไมใช่” จะแสดงยอดเป็นรายได้หรือรายหักโดยมีเครื่องลบ (-) แสดงด้านหน้า - เลือกสถานะเงินเดือน คือ ระบุว่ารายการที่เราได้ทำนั้นต้องการให้แสดงยอดในรายงานเป็นบวกหรือไม่ หากตอบใช่ ยอดที่แสดงจะเป็นบวก หากไม่ไม่ใช่ ยอดที่แสดงจะเป็นลบ |
3. |
คลิกที่ปุ่ม save เมื่อปรับปรุงข้อมูลเรียบร้อย |
1. |
ตัวอย่างการกำหนดตารางรางจัดกลุ่มข้อมูลเพื่อออกรายงาน รายงาน R01: Payroll Register Report รายงานนี้เป็นการรายแสดงรายได้ รายหักที่เกิดขึ้น โดยในที่คอลัมน์รายได้จะแสดงตั้งแต่ คอลัมน์ที่ 1-12 และจะแสดงผลรวมรายได้ ในคอลัมน์ที่ 13 ส่วนงานของรายหักจะเป็นคอลัมน์ที่ 14-25 และจะแสดงผลรวมรายหักในคอลัมน์ที่ 28 ในคอลัมน์ที่ 29 จะแสดงยอดรวมรายได้สุทธิ และคอลัมน์ที่ 30 จะแสดงยอดเงินสมทบกองทุน
การรวมรายได้ โดยจะทำการกำหนดว่าต้องการรวมรายได้ทั้งหมด โดยแทนลำดับด้วย COL และตามด้วย เลขลำดับที่ด้านหน้าโดยเริ่มจาก 01 – 30 เช่น ถ้าต้องการผลรวมของ ตกเบิกรายเดือน , เงินเพิ่มพิเศษ , ปันผลสหกรณ์ สป. จะเขียนแทนด้วย COL01 , COL02 , COL08 การรวมรายหัก โดยจะทำการกำหนดว่าต้องการรวมรายหักทั้งหมด โดยแทนลำดับด้วย COL และตามด้วย เลขลำดับที่ด้านหน้าโดยเริ่มจาก 01 – 30 เช่น ถ้าต้องการผลรวมของ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย , หักเงินกู้ ธอส. ,หักค่าโทรศัพท์ จะเขียนแทนด้วย COL14 , COL18 , COL22 |