คำถามที่ต้องการคำตอบจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นคือ· การโอนย้ายงบประมาณในระบบ ERP จะถูกจัดการโดยทีมวางหน่วยงานการเงินหรือจะถูกจัดการโดยหน่วยงานธุรกิจแยกต่างหาก (คณะ/สถาบัน)· หากมหาวิทยาลัยขอนแก่นใช้ความสามารถของระบบ ERP เพื่อทำการโอนย้ายงบประมาณ การแก้ไขงบประมาณจะเกิดขึ้นในระบบ EPM ทุกๆ ไตรมาส โดยที่· การโอนย้ายงบประมาณที่เกิดขึ้นในระบบ ERP จะถูกส่งข้อมูลไปยังระบบ EPM ณ สิ้นไตรมาสเพื่อทำการปรับฐานงบประมาณในระบบEPM· บนฐานงบประมาณที่ได้รับการปรับใหม่ในระบบ EPM ทีมวางแผนสามารถทำการปรับแก้ไขงบประมาณสำหรับไตรมาสถัดไปและส่งงบประมาณนั้นกลับไปยังระบบERP
ขั้นตอน |
คำอธิบาย |
1 |
เข้าสู่ระบบการควบคุมงบประมาณ ไปที่หน้า “ควบคุมงบประมาณ” > งาน > ตรวจดูยอดดุลในการควบคุมงบประมาณ > ค้นหา |
|
|
|
|
|
|
|
หลังจากกด ค้นหา แล้ว จะมีข้อมูลการใช้งบประมาณต่างๆแสดงให้เห็นในเบื้องต้นว่า งบประมาณนี้มีการใช้ในการทำ PR PO และ AP ไปแล้วจำนวนเท่าไร และสามารถดูได้แบบ Online Real-Time และสามารถแสดงสถานะการสำรองเงินว่ามีภาระหนี้หรือยังไม่มี นอกจากนั้นหน้านี้จะสามารถบอกได้ว่าสามารถควบคุมงบประมาณให้สอดคล้องกับโครงสร้างผังบัญชีได้ หมายเหตุ: CF คือ กันเงินเหลื่อมปี- ไม่มีหนี้ผูกพัน (PR) CK คือ กันเงินเหลื่อมปี- เสมือนมีหนี้ผูกพัน (PO) ใน ERP เรียกว่า (PUR) CX คือ กันเงินเหลื่อมปี- มีหนี้ผูกพัน |
|
|
2 |
หากต้องการโอนงบประมาณ ให้ Login เข้าสู่ระบบ ERP แล้วเลือกเมนู “การควบคุมงบประมาณ”หลังจากนั้นกดเลือก “งาน” ตามรูปด้านล่าง |
|
|
|
|
3 |
ระบุรายละเอียดดังรูป “ชื่อการป้อนงบประมาณ”ให้ระบุเหตุผลสำหรับการดำเนินการครับ จากนั้นกด Create Spreadsheet / จัดทำสเปรดชีท |
|
|
4 |
เมื่อกดสร้างแล้วจะดาวน์โหลดไฟล์มา ให้กดเข้าที่ไฟล์ จะปรากฏหน้าต่าง Login ให้กด Yes และ Login เข้าระบบ ERP |
|
|
5 |
เมื่อ Login ถูกต้องและเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตัวไฟล์จะแสดงดังรูปด้านล่างครับ เพื่อให้เราระบุ 11 Segment ของงบประมาณ |
|
|
6 |
ระบุ 11 Segment ของงบประมาณพร้อมยอด 0 บาท กรณีต้องการสร้างกล่องเพิ่มให้ทาง คณะ /หน่วยงานโอนงบประมาณ หรือ ระบุงบประมาณเข้าไปได้เลย กรณีที่ทางคณะแจ้งงบรายได้ประมาณการมา จากนั้นระบุ ข้อความเหตุผล ในช่อง Comment |
|
|
7 |
เมื่อระบุครบหมดเรียบร้อยแล้ว ให้ทำการตรวจสอบ 11 Segment อีกครั้ง หากเป็นการสร้าง 0 บาทขึ้นมา และไม่เคยมี 11 Segment ในระบบมาก่อน ตัวระบบจะนำข้อมูลจากไฟล์นี้ไปสร้าง กล่องขึ้นมาใหม่ แต่หากเป็นการสร้างงบประมาณรายได้ประมาณการจากทางคณะแต่ 11 Segment ที่ระบุนี้เคยถูกสร้างบนระบบแล้ว ตัวไฟล์จะนำยอดงบประมาณที่ระบุไปเพิ่มให้กับ 11 Segment นั้นๆ ที่มีบนระบบแล้ว ดังนั้นตรวจสอบก่อนจะกด Submit |
|
|
8 |
เมื่อกด Submit แล้ว ตัวไฟล์จะรัน Process จะมีหน้าต่างให้เลือก ตามรูปด้านล่างนี้ ให้กด OK ยืนยันได้เลย โดยไม่ต้องเปลี่ยนอะไร |
|
|
9 |
เมื่อค่า 11 Segment ที่ระบุถูกต้อง และตัวไฟล์ทำงานได้ถูกต้อง จะปรากฏหน้าต่างดังรูปด้านล่าง เพื่อยืนยันว่า ระบบกำลังทำงานอยู่ |
|
|
10 |
ข้อมูลที่มีบนระบบเดิม มี 11 Segment อยู่แล้ว 1 กล่อง ซึ่งกล่องนี้ จะทำการเพิ่มงบประมาณเป็น 2,000,000 บาท |
|
|
11 |
หลังจากระบบรัน Process เสร็จแล้ว ระบบจะอัพเดทกล่องเดิมที่ค่าเป็น 0 เป็น 2,000,000 บาท ตามที่เราระบุในไฟล์ และสร้างกล่อง 0 บาทใหม่ขึ้นมา ตามรูปด้านล่าง |
|
|
12 |
จากนั้นดำเนินการโอนย้ายเงิน โดยเลือกกล่องงบที่ต้องการโอนย้าย โดยเป็นพื้นหลังสีเหลือง จากนั้นกด Transfer Budget และเลือก From This Account |
|
|
13 |
จากนั้นนั้นเลือกกล่องงบที่ต้องการจะโอนงบประมาณไป โดยเลือกเป็นพื้นหลังสีเหลือง และเลือก Transfer Budget และเลือก To This Account |
|
|
14 |
จากนั้นกดเลือกรูป เพื่อเปิดหน้าต่างการโอนงบประมาณ |
|
|
15 |
จากนั้นระบุชื่อการดำเนินการ เหตุผลการดำเนินการ และยอดเงินที่ต้องการโอน |
|
|
|
|
16 |
จากนั้นกดปุ่ม Submit เพื่อให้ระบบดำเนินการโอนงบประมาณ โดยจะใช้เวลาประมาณ 1 – 2 นาที |
|
|
17 |
เมื่อดำเนินการเสร็จแล้ว ยอดเงินจะไปปรากฏที่กล่องดังกล่าวที่ต้องการโอนงบประมาณไป เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการโอนงบประมาณ |
|
|
18 |
ต่อไปเป็นขั้นตอนการดู Report หลังจากเราดำเนินการ ให้ไปที่ แถบ 3 ขีดด้านซ้ายมือ และเลือก Tools จากนั้นเลือก Schedule Process |
|
|
|
|
19 |
จากนั้นเมื่อเข้ามาหน้าดังกล่าวแล้ว ให้กดเลือก “วางกำหนดการกระบวนการใหม่” |
|
|
20
|
ระบุคำว่า “รายงานการวิเคราะห์การควบคุมงบประมาณ” แล้วกด Enter ซึ่งหากระบุถูกต้อง ตัวรายละเอียด จะปรากฏขึ้นมา และปุ่มตกลงจะสามารถกดได้ |
|
|
21 |
เมื่อกด “ตกลง” เข้ามาแล้วจะปรากฏหน้าต่างดังรูปด้านล่าง เบื้องต้นให้เลือก ตามรายละเอียดตามรูป จากนั้นกดฟิลเตอร์ตามกรอบสีแดง |
|
|
|
|
22 |
เมื่อกด ฟิลเตอร์ แล้วจะปรากฏหน้าต่างดังรูปด้านล่างนี้ขึ้นมา ให้กด “เพิ่มฟิลด์” เพื่อเพิ่มข้อมูลที่จะ Filter โดยให้เราระบุรายละเอียดบาง Segment ที่เราได้สร้างกล่องหรือเพิ่มงบประมาณเข้าไป จากนั้นกด OK เพื่อให้เราสามารถ Filter ข้อมูลได้ ตามรูปด้านล่าง |
|
|
|
|
23 |
เมื่อกด “ตกลง” จากการ “ฟิลเตอร์” แล้วตัวหน้าต่างจะแสดงรายละเอียดตามกรอบสีแดง กรณีที่มีการ “ฟิลเตอร์” |
|
|
24 |
เมื่อกด “ตกลง”เข้ามาแล้วจะปรากฏหน้าต่างดังรูปด้านล่าง เบื้องต้นให้เลือก ตามรายละเอียดตามรูป จากนั้นกด ฟิลเตอร์ ตามกรอบสีแดง จากนั้นกด “ส่ง” เพื่อให้ระบบรันกระบวนการ |
|
|
25 |
เมื่อกด “ส่ง” แล้วระบบจะแสดงเลข กระบวนการ (Process) ขึ้นมา ให้ผู้ใช้งาน “คัดลอก” ไว้ |
|
|
26 |
จากนั้นนำเลข กระบวนการ (Process) หรือ ชื่อของ Process “Budgetary Control Analysis Report” มาค้นหาได้ ระบุแค่อย่างใดอย่างนึงก็ได้แล้ว |
|
|
27 |
หลังจากค้นพา จะพบกับ กระบวนการ (Process) ของรายงานที่เราสร้างไว้ ให้กดคลิกที่ กระบวนการ(Process) นั้น ระบบจะแสดงรายละเอียดด้านล่างขึ้นมา ให้กดเลือกที่รูปรถ ตามลูกศรสีแดงเพื่อเปิด รายงาน |
|
|
28 |
หลังจากค้นพา จะพบกับกระบวนการ ของ รายงาน ที่เราสร้างไว้ ให้กดคลิกที่กระบวนการ นั้น ระบบจะแสดงรายละเอียดด้านล่างขึ้นมา ให้กดเลือกที่รูปรถ ตามลูกศรสีแดงเพื่อเปิด รายงาน |
|
|
29 |
เมื่อกดเปิดรายงาน แล้วจะปรากฏหน้าต่างแสดงข้อมูลของ รายงาน ตามรายละเอียดที่เรากรองเอาไว้ขึ้นมา โดยในกรอบสีแดงคือข้อมูลงบที่เราดำเนินการไปก่อนหน้านี้ |
|
|
30 |
เมื่อกดเปิด รายงาน แล้วจะปรากฏหน้าต่างแสดงข้อมูลของ รายงาน ตามรายละเอียดที่เรา กรองเอาไว้ขึ้นมา โดยในกรอบสีแดงคือข้อมูลงบที่เราดำเนินการไปก่อนหน้านี้ |
|
|
31 |
ใน รายงาน เราสามารถเปลี่ยน หัวเรื่องได้ตามที่เราต้องการ ตามหัวเรื่องที่มีใน รายงาน |
|
|
32 |
เมื่อเราได้ หัวเรื่อง ที่เราต้องการแล้ว เราสามารถ Export Report นี้ออกมาได้ โดยกดรูปฟันเฟือนด้านขวามือ จากนั้น Export และเลือกรายการที่ต้องการ |
|
|
33 |
เมื่อกดนามสกุลที่ต้องการได้แล้ว Browser จะดาวน์โหลดไฟล์ดังกล่าวออกมา |
|
|
34 |
เมื่อเปิดไฟล์ที่ดาวน์โหลดออกมาก็จะเป็น รายงาน ในหัวเรื่องที่เราเลือก เอ็กซ์ปอรต์ ออกมา |
|
|